วันอาทิตย์ที่ 2 มกราคม พ.ศ. 2565

ผลการเรียนรู้ครั้งที่4

 สรุป บทที่3 การออกแบบฐานข้อมู ลเชิงสัมพันธ์

การทําให้เป็น บรรทัดฐาน (Normal Form) เป็นกระบวนการวิเคราะห์ ภาวการณ์พึ่งพิงซึ่งกันและกันของคอลัมน์หรือ แอตทริบิวต

เกณฑ์ของการเป็นรูปแบบบรรทัดฐาน มีทั้งหมด 6 ระดับ

รูปแบบบรรทัดฐานที่ 1 (1NF) 

รูปแบบบรรทัดฐานที่ 2 (2NF)

 รูปแบบบรรทัดฐานที่ 3 (3NF) 

รูปแบบบรรทัดฐาน BCNF

 รูปแบบบรรทัดฐานที่ 4 (4NF) 

รูปแบบบรรทัดฐานที่ 5 (5NF)

เกณฑ์ของการเป็นรูปแบบบรรทัดฐานแต่ละระดับ มีวัตถุประสงค์เพื่อ

แก้ปัญหาอันเกิดจากภาวการณ์พึ่งพิงซึ่งกันและกันที่ไม่เหมาะสมของ Attribute ในตารางความสัมพันธ

Normalization คือ การปรับข้อมูลให้เป็นรูปแบบ เพื่อลดความซ้ำซ้อน

สรุปด้วยแผนที่ความคิด

ในการออกแบบฐานข้อมูล เทเบิลเกิดจากการออกแบบที่มีรูปแบบแตกต่างกันหลายระดับ คือ 

1) Normal From ระดับที่ 1 (First Normal Form หรือ 1NF)

 2) Normal From ระดับที่ 2 (Second Normal Form หรือ 2NF) 

3) Normal From ระดับที่ 3 (Third Normal Form หรือ 3NF)

 4) Boyce-Codd Normal Form (หรือ BCNF) 

5) Normal From ระดับที่ 4 (Fourth Normal Form หรือ 4NF)

 6) Normal From ระดับที่ 5 (Fifth Normal Form หรือ 5NF

คำศัพพท์

Relation = ตาราง (Table) 

Attribute = ชื่อของคอลัมน์ 

Tuple = แถวของ relation 1 แถว

 Determinant = ตัวกําหนดค่า 

Dependency = ค่าที่ขึ้นอยู่กับ 

Determinant Candidate key = คีย์คู่แข่ง

Redundancy = ความซํ้าซ้อนของข้อมูล

Composition key = คีย์ร่วม Repeating groups = กลุ่มข้อมูลซํ้า

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น