วันศุกร์ที่ 21 มกราคม พ.ศ. 2565

ผลการเรียนรู้ครั้งที่6

 สรุป บทที่ 4 การสร้างแบบจําลองความสัมพันธ์ของข้อมูล


Diagram (Entity Relationship Diagram) ขึ้นมาเพื่อใช้สําหรับออกแบบฐานข้อมูล 

นับจากนั้นเป็นต้นมา แผนภาพ E-R ก็ถูกนําออกไปใช้งานอย่างกว้างขวาง โดยมีการ พัฒนารูปแบบที่หลากหลาย 

เอนทิตี คือวัตถุหรือส่วนประกอบของข้อมูลเอนทิ ตีถูกแสดงเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าในแผนภาพ E-R

Entity จะแบ่งออกเป็ น 2 ประเภท ด้วยกัน คือ

Strong Entity หรืออาจเรียกในอีกชื่อหนึ่ง ว่า Regular Entity เป็น Entity ที่มี คีย์หลัก เป็นของตัวเอง

Weak Entity คือ entity แบบอ่อน ไม่มีคีย์ เป็นของตัวเอง และไม่สามารถเกิดขึ ้นได้ตาม ลําพัง

อธิบายคุณสมบัติของ entity

1. Key attribute: attribute หลักสามารถระบุentity โดยไม่ซ้ํากันจากชุดentity ตัวอย่างเช่นหมายเลขม้วนนักเรียนสามารถระบุนักเรียนจากกลุ่มนักเรียนได้โดยไม่ซ้ํากัน

2.ttribute ที่เปฌนการรวมกันของ attribute อื่น ๆ เรียกว่า Composite attribute ตัวอย่างเช่น ใน entity นักเรียนที่อยู่ของ นักเรียน

3. Multivalued attribute: attribute ที่สามารถเก็บค่าได้หลายค่าเรียกว่า attribute หลายค่า แสดงด้วยวงรีคูใน E-R Diagram ตัวอย่างเช่น - บุคคลสามารถมีหมายเลขโทรศัพท์ได้มากกว่าหนึ่ง หมายเลข

4. Derived attribute: attribute ที่ได้รับคือค่าหนึ่งที่มีค่าเป็นแบบไดนามิก และได้มาจาก attribute อื่น มันแสดงด้วยวงรีเส้นประใน E-R Diagram ตัวอย่างเช่น - อายุของบุคคลเป็น attribute ที่ได้รับเนื่องจากมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา และสามารถหามาจาก attribute อื่น (วัน เดือน ปีเกิด) 

โครงสร้างข้อบังคับ

ข้อบังคับในข้อมูลจะสะท้อนถึงข้อจํากัดต่าง ๆ บนความสัมพันธ์ และใช้เป็นเกณฑ์พื่อมิให้เกิดความพยายามฝ่าฝืน

ตัวอย่างเช่น 

• มหาวิทยาลัยแห่งหนึ่ง มีกฎข้อบังคับไว้ว่า อาจารย์ผู้สอนจะต้องสอนหนังสืออย่างน้อย 1 วิชาและสอนได้ไม่เกิน 3 วิชา

Cardinality คือ การกําหนด ขอบเขต หรือจํานวนสมาชิกที่เป็นไปได้ในเอ็นทิตี้หนึ่ง ที่ มีความสัมพันธ์กับ สมาชิกของ อีกเอ็นทิตี้หนึ่ง


ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น